นักเรียนได้จัดทำป้ายบัตรคำ เรื่องพุทธศาสนสุภาษิต จัดทำโดย นางสาวศศิมล เสริมโสภณ G.11 A
วันพุธที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
วิชาศาสนาสากล
นักเรียนได้จัดทำ Think borad เรื่อง ศาสนาเซน ผลงานของ นายเอก แซ่ฉิ่น G.10 D
นักเรียนได้จัดทำ Mind mapping เรื่อง ศาสนาในเอเชียใต้ ผลงานของ นางสาวอรอุมา ลักษณะพาหุ G.10 B
วันจันทร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
How to learn English
2. Spend at least one hour everyday listening to news or discussion programs such as NPR (National Public Radio) news or BBC (British Broadcasting Corporation; the World Service or Radio Four are best) news. It's hard to understand what they are saying when you first begin to listen to them, but gradually you'll get used to the speed and tone. Then you can get a brief idea of what they are talking about, although you can't get the detail. You don't need to listen to the radio for an whole hour at once. It's best to spend twenty or thirty minutes on listening separately.
3. Spend more than three hours every day on reading English news or articles. Reading builds up your vocabulary, idioms, phrases, and the concepts of English structures. If you do enough reading, it will save you a lot of time since you will not need to spend more time on building your vocabulary or grammar. Read out loud when you do your reading so that you can improve your pronunciation at the same time.
4. Learn the phonetic alphabet (pronunciation symbols). This can help you pronounce correctly, and it's necessary to speak with the correct tone if you want to make some friends with native English speakers. This is a big deal for non-native English speakers.
5. Make some pen pals and write them at least once everyday. The best way to improve your writing is to practice writing as much as you can. The more you write the more you know how to use what you've learned from reading and listening.
6. Make friends with native-English speakers. This is the most difficult task because of the difference in culture, but you can't really master English unless you can communicate with a native English speaker fluently. You have to know enough things and have good listening skills if you want to have good conversations with an American or Briton. Remember to ask a lot of questions to keep the conversation going. When someone asks you a question, give more than just the basic information. For example, if someone asks you "Do you like living here?" don't just answer "Yes" or "No," but tell them why, too.
7. Watch some English TV. TV is the best and most inexpensive teacher to learn real English. Not only you can learn formal English from news or debate TV programs, but you can also learn everyday English from soap operas and sitcoms. Be careful because too much jargon or too many idioms make your speech ambiguous.
8. Try listening to the Radio. Radio is also one of the best and inexpensive English teachers. Because there is no picture, you cannot lip read. You must train your ear to listen.
9. Use an English-English dictionary and bring your dictionary wherever you go. If you find some words that you don't know, look them up in your dictionary immediately.
10. Use 'Espoir Smart English' programs. You get absorbed in the learning English. You will learn English automatically. This program is specially designed for the adolescent mind to learn English for their success in career, social, love & personal lives & influence people.
11. Use your newly-learned idioms or vocabulary. Once you use the words which you memorized, you will never forget them again.
12. Think in English. Getting used to using English all the time will make it easier to listen and react with it.
13. Join web groups or clubs where you can post questions freely and discuss the use of grammar.
Credit : http://www.wikihow.com/Learn-English
11F T.Naritsara Grammar
The Grammar class of T. Naritsara in Grade 11F make their
group presentation before they present
their work in front of the class. This kind of strategy will
make them enthusiastic to present with their class because the teacher is
always their to guide and motivate.
11E T.JB Social S.
Group presentation is one part of strategies that we had in
Sarasas is always
Implied in their Social Studies subject with the guidance of
their teacher.
วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
VDO การอ่านข่าว
นักเรียน G.10 ได้ทำกิจกรรม การอ่านข่าว ในวิชาภาษาไทย เพื่อให้นักเรียนได้มีทักษะในการวิเคราะห์ข่าว การพูดและการออกเสียงให้ถูกต้องตามหลักวิชาภาษาไทย นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้เป็นอย่างดี
วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (โลกและดาราศาสตร์)
นักเรียนได้จัดทำรูปจำลอง เรื่องภัยพิบัติทางธรรมชาติ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (โลกและดาราศาสตร์) จัดทำโดยนักเรียน G.10
นักเรียนได้จัดทำรูปจำลอง เรื่องซากดึกดำบรรพ์ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (โลกและดาราศาสตร์) จัดทำโดยนักเรียน G.10
นักเรียนได้จัดทำรูปจำลอง เรื่องซากดึกดำบรรพ์ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (โลกและดาราศาสตร์) จัดทำโดยนักเรียน G.10
วิชา ดาราศาสตร์
นักเรียนได้นำเสนองาน เรื่องการเปลี่ยนแปลงของโลก ในวิชาดาราศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น จัดทำโดยนักเรียน G.10
Music VDO วิชาฟิสิกส์
นักเรียนได้จัดทำ Music VDO ประกอบเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ วิชาฟิสิกส์ เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาวิชามากขึ้น จัดทำโดยนักเรียน G.11
การวิเคราะห์บทความ
ในการเรียนการสอนวิชา ภาษาไทย เรื่อง สารที่ให้ความรู้ ให้นักเรียนนำบทความมาวิเคราะห์ข้อคิด การใช้ภาษา และการนำไปใช้ประโยชน์ จัดทำโดยนักเรียน G.11
ศาสนาสากล
นักเรียนได้จัดทำ Mind maping เรื่อง ศาสนาในเอเชียตะวันออก ในการเรียนการสอนเรื่อง ศาสนาสากล ของนักเรีย G.10 C
วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
VDO วิชา Research
นักเรียน G.11 A ได้นำเสนองานวิชา Research ในบทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเรียนได้
A country in Asean Community
Thailand
(Kingdom
of Thailand)
Capital: Bangkok
Largest city: Bangkok
Official language: Thai
Official scripts: Thai alphabet
Legislation: National Assembly
Government: Unitary parliamentary democracy and
constitutional monarchy
Population: 66,720,153
Climate: Winter,
summer and rainy season
Exports: Thai rice, fishery
products, rubber, jewelry, cars, electrical appliances
Religion: Buddhists
(Theravada) 94.6%,
Muslims 4.6%, Christians 0.8%, Hindus 0.7%
Cuisine: garlic, chilies, lime juice, lemon grass, and fish sauce
Festivals: Songkran festival (water
festival), Loikratong festival
Education: kindergartens,
primary, lower secondary and upper secondary schools,
numerous
vocational colleges, and universities
Culture: Thai culture has been
shaped by many influences, including Indian, Lao,
Burmese,
Cambodian, and Chinese.
Clothing: Suea Phra Ratchathan (male)
and Thai Chakkri (female)
Social Studies G. 11B
T. Jefferson brought G. 11B students to our library
for searching more information to make a Mind Map as a group work. The topic
for making a Mind Map was Hinduism.
Writing & Reading G. 11C
T.Naritsara was teaching the subject lively and
actively. She also prepared a visual aid which was related to Germany. It
encouraged the students to be able to understand the lesson easier.
English Competition
Sarasas
Witead Rungsit School attended a English competition which called “Top Crown
Diamond English Competition” on 5th February, 2012. These are the students who
attended the competition below;
1. Sirinan Boonpratuang G. 11D
2. Saranchana Sukchote G. 11D
3. Wasin Coothongkul G. 10A
4. Naomi Jayne Schumenn G. 9B
5. Kritamaet Coothongkul G. 8D
They
didn’t pass to the second round, but they did a great job on the test
from the first round.
ดาราศาสตร์ และ อวกาศ
ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่ห้องสมุด เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนใด้รู้จักการใช้ห้องสมุด และการอ่านมากขึ้น ผลที่ได้รับจากกิจกรรมนี้ นักเรียนตั้งใจศึกษาค้นคว้าดีมากและชอบเข้าห้งสมุดมากขึ้น
วิชา ภาษาไทย G.11
ในการเรียนการสอนวิชา ภาษาไทย เรื่อง สารที่ให้ความรู้ ให้นักเรียนนำบทความมาวิเคราะห์ข้อคิด การใช้ภาษา และการนำไปใช้ประโยชน์
วันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
เอาชนะข้อสอบความจำให้อยู่หมัด.... แค่ขีดแล้วเขียน
เทศกาลสอบกำลังจะเริ่มต้นขึ้นอีกครั้ง ก็เท่ากับได้เวลาที่ต้องพยายามหาเคล็ดลับการสอบมาฝากน้องๆ กันเหมือนเช่นเคย วันนี้พี่มิ้นท์มีเคล็ดลับการเตรียมตัวสอบ ที่ข้อสอบมักจะเน้นความจำ
ข้อสอบเน้นความจำ หมายความว่า คำถามส่วนใหญ่ต้องการคำตอบที่เฉพาะเจาะจง ไม่ต้องผ่านการวิเคราะห์ หรือ วิเคราะห์เพียงนิดหน่อย เช่น คำถามประเภท ถาม พ.ศ., ถามชื่อคน, ชื่อเมือง, ถามสาเหตุ ฯลฯ คำตอบที่ออกมาจะได้เหมือนกันทุกคน ซึ่งคุณครูระดับมัธยมส่วนใหญ่จะออกรูปแบบนี้ ในวิชา ประเภท สังคมฯ ประวัติศาสตร์ และเราก็จะท่องกันหัวปั่น เรียกว่าท่องกันบรรทัดต่อบรรทัดเลยทีเดียว
เคล็ดลับที่พี่มิ้นท์จะมาแนะนำกันวันนี้ คือ การลบเนื้อหาที่สำคัญออกจากต้นฉบับ เพื่อลับสมองประลองความจำ วิธีการมีดังนี้
1. สมมติว่าวันนี้เราอ่านเรื่องประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย รอบแรกที่อ่านให้จับใจความสำคัญ แล้วทำเครื่องหมายในส่วนที่เราเก็งข้อสอบไว้ว่าคุณครูต้องออกแน่ๆ เลย
เคล็ดลับที่พี่มิ้นท์จะมาแนะนำกันวันนี้ คือ การลบเนื้อหาที่สำคัญออกจากต้นฉบับ เพื่อลับสมองประลองความจำ วิธีการมีดังนี้
1. สมมติว่าวันนี้เราอ่านเรื่องประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย รอบแรกที่อ่านให้จับใจความสำคัญ แล้วทำเครื่องหมายในส่วนที่เราเก็งข้อสอบไว้ว่าคุณครูต้องออกแน่ๆ เลย
2.เอาชีทหรือเอกสารที่กำลังอ่านอยู่ไปถ่ายเอกสาร หรือคัดลอกด้วยลายมือตัวเองมาก็ได้(ถ้าลอกด้วยลายมือตัวเองได้ยิ่งดีใหญ่ เพราะทวนความจำไปในตัว) แต่ในช่วงเวลาน้อยๆ เอาไปถ่ายเอกสารจะสะดวกกว่า
3.ลบเนื้อหา หรือ ใจความที่เราเก็งข้อสอบออกไป ให้กลายเป็นช่องว่างให้เราเติมคำ หรือขีดเส้นใต้เอาไว้ด้วยก็ได้ แบบในรูปข้างล่าง
3.ลบเนื้อหา หรือ ใจความที่เราเก็งข้อสอบออกไป ให้กลายเป็นช่องว่างให้เราเติมคำ หรือขีดเส้นใต้เอาไว้ด้วยก็ได้ แบบในรูปข้างล่าง
ง่ายๆ แค่นี้ น้องๆ ก็จะมีคัมภีร์เก็งข้อสอบเป็นของตัวเอง ซึ่งวัดความจำของน้องๆ ได้ล้านเปอร์เซ็นต์ วิธีนี้ได้ผลดีกว่าการท่องจำมาก เพราะการจะเติมคำในช่องว่างได้ เราจะต้องดึงความจำในสมองออกมาในขั้นที่ 1 ส่วนในขั้นที่ 2 เรายังต้องประมวลผลและกลั่นออกมาเป็นคำตอบและเขียนลงไปในช่องว่าง (การเขียนเพิ่มประสิทธิภาพในความจำขึ้นอีก) ถ้าเราตอบถูกก็แสดงว่าความจำเราใช้การได้ดี แต่ถ้าผิดก็ยิ่งกลายเป็นผลดีขึ้นไปอีก เพราะน้องๆ จะจำข้อบกพร่องของตัวเองได้ว่า ตอบแบบนี้มันผิด ผลที่ตามมาก็คือ พอเราแก้เป็นคำตอบที่ถูกแล้ว เราก็จะจำแต่สิ่งที่ถูกต้องนั่นเอง
แค่ 3 ขั้นตอนที่ว่ามา เนื้อหา 4-5 หน้า ก็จำได้หมดค่ะ ส่วนการท่องจำด้วยปากเปล่า ถ้าวันไหนสติหลุด ก็มีลุ้นลืมหมดสมองเหมือนกัน
เด็ดกว่านั้นก็คือ ถ้าน้องๆ เซียน เก็งข้อสอบได้แม่นตรงกับความคิดคุณครูด้วยล่ะก็ วิชานั้นหวานหมูเลย คะแนนเต็ม 100 แน่ๆ
วิธีนี้ ถือว่าเป็นวิธีที่ง่ายมาก ถ่ายเอกสารเดี๋ยวนี้ก็หน้าละ .50 บาท เรียกว่าเราได้คะแนนเต็มด้วยต้นทุนแค่ไม่กี่บาทนี่คุ้มมากๆ แต่ถ้าถ่ายเอกสารทั้งเล่ม 300 กว่าหน้าก็ไม่ไหวนะคะ หาวิธีอื่นดีกว่า... เอาเป็นว่าลองนำเทคนิคนี้ไปใช้กันดู ถ้าเป็นไปได้ก็ลองใช้ประยุกต์กับวิชาอื่นๆ ด้วยก็จะดีมากๆ เลย^^
การสร้าง Model แบบจำลองบ้านและที่อยู่อาศัย
ในวิชา การเขียนแบบ Model ของนักเรียน G.11 E แผนก สถาปัตยกรรม ได้มีการสร้างแบบจำลองของบ้านและที่อยู่อาศัย นักเรียนสามารถปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดีและสวยงาม
VDO การนำเสนองาน G.10 D
การนำเสนองาน เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา สึนามิ และ การเกิดแผ่นดินไหว ของนักเรียน G.10 D โดยการนำเสนองานชิ้นนี้ เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้น
Think Board เรื่อง เซลล์ไฟฟ้าเคมี
นักเรียนได้จัดทำ Think bord เรื่อง เซลล์ไฟฟ้าเคมี โดยนักเรียนชั้น G.11 A
เป็นการสรุปเนื้อหาในบทเรียน เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาของบทเรียน
และสามารถนำไปปรับใช้กับการคำนวณ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
เป็นการสรุปเนื้อหาในบทเรียน เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาของบทเรียน
และสามารถนำไปปรับใช้กับการคำนวณ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
วันพฤหัสบดีที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
Why is it called a hamburger although it contains no ham?
German immigrants introduced the recipe to
the US. The term “hamburger” is believed to have appeared in 1834 on the menu
from Delmonico’s restaurant in New York but there is no surviving recipe for
the meal. The first mention in print of “Hamburg steak” was made in 1884 in the
Boston Evening Journal.
The honor of producing
the first proper hamburger goes to Charlie Nagreen of Seymour, Wisconsin, USA.
In 1885 Nagreen introduced the American hamburger at the Outgamie County
Fair in Seymour. (Seymour is recognized as the hamburger capital of the world.)
However, there is another claim to that
throne. There is an account of Frank and Charles Menches who, also in 1885, went
to the Hamburg, New York county fair to prepare their famous pork sausage
sandwiches. But since the local meat market was out of pork sausage, they used
ground beef instead. Alas, another hamburger.
The first account of serving ground meat
patties on buns – taking on the look of the hamburger as we know it today –
took place in 1904 at the St. Louis World Fair. But it was many years later, in
1921, that an enterprising cook from Wichita, Kansas, Walt Anderson, introduced
the concept of the hamburger restaurant. He convinced financier Billy Ingram to
invest $700 to create The White Castle hamburger chain. It was an instant
success. The rest of the history, we might say, belongs to McDonald’s.
And, no, a hamburger does not have any
ham in it. Well, it’s not supposed to. Hamburger meat usually is made of
70-80% beef and fat and spices.
Why is a hotdog called a hotdog?
In 1987, Frankfurt, Germany celebrated the
500th birthday of the frankfurter, the hot dog sausage. Although, the people of
Vienna (Wien), Austria will point out that their wiener sausages are proof of
origin for the hot dog. (By the way, ham, being pork meat, is found in
hotdogs.) In “Every wonder
why?”
Douglas B. Smith explains that the hotdog was given its name by a cartoonist.
A butcher from Frankfurt who owned a
dachshund named the long frankfurter sausage a “dachshund sausage,” the
dachshund being a slim dog with a long body. (“Dachshund” is German for “badger
dog.” They were originally bred for hunting badgers.) German immigrants
introduced the dachshund sausage (and Hamburg meat) to the United States. In
1871, German butcher Charles Feltman opened the first “hotdog” stand in Coney
Island, selling 3,684 dachshund sausages, most wrapped in a milk bread roll,
during his first year in business.
In the meantime, frankfurters – and wieners
– were sold as hot food by sausage sellers. In 1901, New York Times cartoonist
T.A. Dargan noticed that one sausage seller used bread buns to handle the hot
sausages after he burnt his fingers and decided to illustrate the incident. He
wasn’t sure of the spelling of dachshund and simply called it “hot dog.”
Eating
Recipes for placing meat between slices of bread date back to Roman times. However, that was for steak, not minced meat. Thus, the steak burger is older than the hamburger!
Recipes for placing meat between slices of bread date back to Roman times. However, that was for steak, not minced meat. Thus, the steak burger is older than the hamburger!
Sausage is one of the oldest forms of
processed food, having been mentioned in Homer’s Odyssey in the 9th century BC.
The tongue is a muscle with glands, sensory
cells, and fatty tissue that helps to moisten food with saliva. You cannot
taste food unless it is mixed with saliva. For instance, if salt is placed on a
dry tongue, the taste buds will not be able to identify it. As soon as saliva
is added, the salt dissolves and the taste sensation takes place.
There are 4 basic tastes
plus umami.
The salt and sweet taste buds are at the tip of the tongue, bitter at the base,
sour along the sides, and umami along the center of the tongue.
http://didyouknow.org/
แปลกแต่จริง!! เรียนสายวิทย์ ตกวิทย์ เรียนสายศิลป์ ตกเลข
เรียกว่าเป็นปัญหาโลกแตกที่ไม่มีใครตอบคำถามได้ ว่าทำไม? เด็กไทยถึงได้สอบตกวิชาหลักๆ ในสายนั้น เช่น น้อง ก. เรียนสายวิทย์-คณิต แต่ตกวิชาฟิสิกส์ เคมี ชีวะ รวมไปถึงตกเลขเป็นประจำ ส่วนน้อง ข. เรียนสายศิลป์-คำนวณ ก็ตกวิชาเลขกับอังกฤษ ทุกเทอม ส่วน น้อง ค. เรียนศิลป์-ภาษา ก็ผ่านภาษาที่เรียนมาแบบฉิวเฉียดเบียดคะแนนต่ำสุดกันเลยทีเดียว
ในสายตาผู้ใหญ่ เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องใหญ่เสมอ เพราะกลัวว่าลูกตัวเองจะเรียนไม่จบ เป็นเรื่องเลวร้ายที่สร้างชื่อ"เสีย"ให้กับวงศ์ตระกูล ส่วนในสายตาอย่างเราๆ กลับมองว่ามันเป็นเรื่องปกติ ไม่เห็นจะแปลกตรงไหน ใครๆ ก็ตกทั้งนั้น (เอาเข้าไป!!)
อาการสอบตกบ่อยๆ ไม่เคยเจ็บแบบนี้ ทำให้น้องๆ หลายคนเริ่มพิจารณาตัวเอง ว่า เอ๊ะ! เราคงโง่เกินเรียนในสายนี้จริงๆ ล่ะมั้ง ถึงได้ตกซ้ำซาก แต่น้องๆ คงลืมนึกต่อว่า แล้วเราจะมั่นใจได้ยังไงว่าเรียนอีกสายแล้วจะไม่สอบตกในวิชาอื่น... ซึ่งในเรื่องนี้ พี่มิ้นท์ได้ลองหาสาเหตุแล้วค่ะ ว่าทำไมเราถึงตกในวิชาที่ไม่สมควรจะตก
ก่อนอื่น พี่มิ้นท์อยากให้น้องๆ เลิกคิดว่าตัวเองยิ่งเรียนยิ่งโง่ไปซะก่อน เพราะการศึกษาไม่มีทางทำให้คนโง่ลงหรอกค่ะ ไม่อย่างนั้นจะเรียนกันทำไม จริงมั้ย?? แต่ปัญหามันอยู่ที่ว่า พอเรียนสูงขึ้น เนื้อหามันก็ยากขึ้นและลึกขึ้นตามลำดับ จุดนี้แหละที่เป็นจุดเปลี่ยน เพราะถ้าพื้นฐานยังไม่เข้าใจ ก็อย่าหวังว่าของที่มันยากขึ้นจะเข้าใจ เช่น อาจารย์ให้ท่องตารางธาตุ ยังไม่ทันจะจำได้ว่าธาตุไหนอยู่ช่องไหน แต่ต้องเรียนสมการล้านแปดแล้ว สุดท้ายเราก็เรียนไม่ทัน เพราะฉะนั้นเป็นเรื่องธรรมดามากๆ ที่เราจะเกิดอาการมึนงง กับเนื้อหาใหม่ๆ ที่ยากขึ้น
ข้ามมาที่สายศิลป์ ก็ตกภาษาอังกฤษกันเป็นประจำ อย่างแรกเราต้องยอมรับว่า เราเรียนสายนี้ ภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์เป็นตัวชูโรง ดังนั้นสองวิชานี้เรียนหนักแน่นอน อย่างสายวิทย์อาจจะเรียนแค่ไวยากรณ์ตามหนังสือหลัก แต่สายศิลป์จะมีวิชาฟัง วิชาเขียน วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ฯลฯ อีกมากมายที่สายวิทย์ไม่ได้เรียน เพราะฉะนั้นก็เข้าอีหรอบเดิมว่า ยิ่งเรียนลึกขึ้น สมองเราก็ตามไม่ทัน ดังนั้น ต่อให้เราเรียนสายไหนเราก็มักจะตกในวิชาสำคัญของสายนั้นนั่นเอง
สรุปว่า ในแต่ละสายก็จะมีวิชาที่เน้นต่างกัน เมื่อเรียนเยอะ โอกาสตกจึงมีเยอะกว่า ส่วนวิชาที่ไม่เน้น ก็จะเรียนน้อย แถมง่าย จึงไม่ตกให้ปวดใจ ดังนั้น อย่าปล่อยให้ปัญหานี้ลอยนวลค่ะ!!
อย่างแรกเลย ก่อนตัดสินใจว่าจะเรียนสายไหน นอกจากจะต้องดูว่าจบมาเราอยากทำอะไรแล้ว ต้องหาข้อมูลด้วย เพราะเราจะต้องอยู่กับมันไปอีก 3 ปีเลยนะคะ โดยอาจจะถามรุ่นพี่ก็ได้ว่าสายนี้จะต้องเรียนอะไร เน้นอะไรบ้าง โหดมั้ยฯลฯ เมื่อตัดสินใจได้แล้วว่าจะเรียนสายไหน ก็ต้องทำใจยอมรับกับสิ่งที่จะเกิดขึ้น เช่น เรียนสายศิลป์ จะต้องเจอวิชาอังกฤษ 6 คาบต่ออาทิตย์ เจอเลขทั้งเลขหลักเลขเสริม 5 คาบต่ออาทิตย์ ฯลฯ
การรู้หน้าที่ตัวเอง เป็นการให้กำลังใจตัวเองได้อย่างดีเยี่ยม เพราะถ้ารู้ว่าอนาคตข้างหน้า เราจะเจออะไรบ้าง คนที่มีความพร้อมก็จะวางแผนแล้ว น้องๆ ม.4 -5 ตอนนี้ก็ยังทันนะ ลองดูว่าอีกหน่อยเราจะได้เรียนวิชาไร แล้วเตรียมตัวเจอได้เลย
อันดับต่อมาต้องมีความพยายาม ยิ่งรู้ว่ายิ่งเรียนก็ยิ่งยาก "ความพยายาม" จึงเป็นเครื่องมือที่ดีที่สุด บทเรียนไหนที่เป็นพื้นฐาน ต้องรีบทำความเข้าใจ เพราะอีกหน่อยพื้นฐานตรงนี้จะต้องเอาไปใช้กับการเรียนอีกทุกเรื่อง เรียกว่าเข้าใจแต่แรก คุ้มทั้งปีทั้งชาติ ส่วนใครที่ไม่เข้าใจ ก็ต้องรีบถามเพื่อน ถามอาจารย์ ก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินไป
บทความนี้พี่มิ้นท์เขียนขึ้นเพื่อสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นจริงๆ ปัญหาที่ดูว่าแก้ยาก แต่ถ้าตั้งใจแก้จริงๆ โดยเริ่มต้นจากตัวเอง ก็สามารถแก้ได้ อย่าให้ความท้อ ความไม่เข้าใจ ทำให้ผลการเรียนเราแย่ และแอนตี้วิชาที่เราเรียนเลยนะคะ เพราะถ้าเรายิ่งแอนตี้วิชาพวกนี้เข้าไปอีก สิ่งที่ตามมาก็คือ ไม่ตั้งใจเรียนสุดท้ายก็สอบตกอีก เป็นวงเวียนไม่รู้จบ
สอบตกตั้งแต่เทอมแรกยันเทอมสุดท้ายไม่เท่หรอกนะครับ :)
วิชา สังคมศึกษา
นักเรียนได้จัดทำ Mind maping เรื่อง ศาสนาที่เกิดในเอเชียตะวันออก ในการเรียนการสอนเรื่อง ศาสนาสากล ของนักเรีย G.10 D
วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
วิชาวิทยาศาสตร์
นักเรียนได้นำเสนองาน จากรายงาน เรื่อง เอกภพ เป็นส่วนหนึ่งของวิชา วิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถปฏิบัติงานได้เป็นอย่าดี
Think Board วิชาฟิสิกส์
นักเรียนได้จัดทำ Think Board เรื่อง พลังงานจลน์ ในการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์ นักเรียนสามารถปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดีและสวยงาม
หนังสั้น วิชาฟิสิกส์
นักเรียนได้จัดทำหนังสั้นเพื่อการศึกษา เรื่อง ของไหล ในวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน จัดทำโดยนักเรียน G. 11 A
วิชาเคมีเพิ่มเติม G.11
นักเรียนได้จัดทำชิ้นงานโมเดล เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม โดยงานชิ้นนี้เป็นโมเดลแร่ดีบุค ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นสือการเรียนการสอนในบทเรียนนี้ได้
จัดทำโดย
นายนันทนัช เตชะรัตรชัยกุล G.11 B
จัดทำโดย
นายนันทนัช เตชะรัตรชัยกุล G.11 B
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)